เปิดเบื้องลึกผู้ประกอบการเพื่อสังคม คุณนิกร ฉิมคง ประธานองค์กรบางกอกเรนโบว์ I CMMU Mahidol
Social entrepreneur is a person who takes a business approach to effectively solving a social problem. Their goods/services often provide cutting edge solutions as a response to problematic issues in society no matter the sector. To understand what promotes the culture of social entrepreneurship in Thailand, Dr. Nattavud Pimp with a group of entrepreneurship and innovation students from #CMMU interview the Director of Bangkok Rainbow Organisation, Khun Nikorn Chimkong. Bangkok Rainbow is a social business aiming at promoting good health and social justice in the Thai LGBQIQ+ community. #CMMU #SDGs #LGBTIQ #LGBT #socialbusiness #socialjustice #MBA #MM #Management Live! From the College of Management One way to achieve sustainable development goals (SDGs) is to support social business to our society. Social business is a business model aiming at solving social problems in a financially sustainable way. Its primary mechanism is that all profits have to be reinvested into the business (i.e. no dividends are paid out to the owners), or are used to start new social business to increase the impact of the organisation. Social Business can lead to the achievement of Sustainable Development Goals (SDGs) by focusing at its impacts on (1) zero poverty, (2) zero unemployment, and (3) zero net carbon emissions. In this story, a group of students from the Master of Management (Entrepreneurship and Innovation) interview Nikorn Chimkong, President of Bangkok Rainbo Organisation. This organisation aims at using business model to promote gender equality (SDG 5) and increase social justice for LGBTIQ+ in Thailand. We learn from the interview that: 1) It is important for social entrepreneurs to be flexible with the design of social business model (SBM). SBM is different from generic business models in many ways, for instance its conditions for success, revenue, and sensitivity in income generation. In fact, agility is a key practice for success in the case of most social business organisations. 2) Social entrepreneurs must understand the pivotal role of social capital and network. There are various core social issues and Nikorn has learnt to mingle and connect with those who share similar interests I human rights and equality in the business circle. 3) Entrepreneurial mindset is important. Modern social entrepreneurs must be proactive and be mindful about changes in the global community, network and technology. There are several ways for us to move faster, for instance creating integrated social platforms to keep your business active with various stakeholders, increase level of engagement via frequent small business events. 4) Social business must be a key concept for current not-for-profit organisations (NFP) worldwide. This concept will strengthen financial health and status for NFP in the current global situation and challenges (i.e. COVID-19) หนึ่งในแนวทางที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) จำนวน17 ข้อ ตามที่องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเป็นเป้าหมายโลก นับจากปี 2559 เป็นต้นไป ทอดยาวไปอีก 15 ปีข้างหน้า คือ การผลักดันให้เกิด ‘ธุรกิจเพื่อสังคม’ หรือ Social Business สู่ขีดระดับที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยผลลัพธ์ทางการเงินจากธุรกิจเพื่อสังคมจะนำมาใช้ เพื่อตอบโจทย์ สิ้นความยากจน (Zero Poverty), ไร้การว่างงาน (Zero Unemployment), แล การปล่อยก๊าซคาร์บอนฯ สุทธิเป็นศูนย์ (Zero Net Carbon Emissions) ในคลิปนี้ นักศึกษาในสาขาภาวะผู้ประกอบการและนวัตรกรรมได้สัมภาษณ์ คุณนิกร ฉิมคง ประธานมาสัมภาษณ์คุณนิกร ฉิมคง ประธานBangkok Rainbow ผู้นำแนวปฏิบัติผู้ประกอบการมาทำองค์กรเพื่อแก้ปัญหาสังคมในด้านความเท่าเทียมในสังคมต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในไทย โดยประเด็นหลักมีดังนี้ 1) การวาง รูปแบบทางธุรกิจสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม.ขององค์กรบางกอกเรนโบว์ มีความน่าสนใจกับการปรับเรื่องช่องทางการหารายได้ไปตามเวลาและเงื่อนไขของสินค้าบริการที่ขายในตลาดแต่ละยุค ไม่มีการจำกัดช่องทางตายตัว ถึงจะล้มลุกคลุกคลานแต่ก็ยังมี agility สูง 2) ผู้ประกอบการเพื่อสังคมย่อมเข้าใจความสำคัญของ ต้นทุนทางสังคมและกลุ่มคนรู้จักว่ามีความสำคัญเป็นอย่างสูงต่อการไปต่อของธุรกิจเพื่อสังคม จากการสัมภาษณ์ พบว่าคุณนิกรมีกลุ่มก๊วน social capital และ network จากกิจกรรมต่างๆมากมายทั้งในเชืงธุรกิจและสังคมที่เอื้อต่อการระดมทุนและดำเนินธุรกิจขององค์กรธุรกิจเพื่อสังคม 3) ในการวิเคราะห์และพัฒนากิจกรรมหลัก เพื่อสร้างมูลค่าของสินค้าหรือบริการของธุรกิจเพื่อสังคมนั้น จำเป็นที่ผู้ประกอบการเพื่อสังคม ต้องปรับความเชื่อที่มีผลต่อพฤติกรรม (mindset) จากกิจกรรมที่ตั้งรับ ไป 'รุก' ในระบบต่างๆที่ใหม่ เช่น พัฒนาแพลตฟอรมทางสังคมโดยใช้สมาชิกเป็นฐาน ระดมกำลังใน Social Media เพื่อลดค่าใช้จ่าย หรือ จัดกิจกรรมระดมทุนย่อยมากขึ้นพื่อนำไปสู่กิจกรรมหลักที่ง่ายในตอนปลาย 4) แนวคิดเรื่องธุรกิจเพื่อสังคม เหมาะกับ องค์กรที่อยู่ในกลุ่มองค์กรที่ไม่หวังผลกำไรในในโลกปัจจุบัน เนื่องจากกระบวนการนี้จะส่งเสริมโอกาสในการสร้างความเข้มแข็งทางการเงิน ในโลกยุคปัจจุบัน (ในกรณีที่เกิดปัญหาใหม่ เช่น โควิด ๑๙) ได้เป็นอย่างดี
No comments: