เรียนรู้คำศัพท์แบบ Econ ผ่านวิกฤตโควิด the COVID-19 crisis as an excuse to learn some economics jargon. I CMMU Mahidol
The COVID-19 crisis as an excuse to learn some economics jargons. CMMU Blogspot proudly presents this mixed method of learning economics [ Clip X Infographics ] by Assistant Prof. Dr.Winai Wongsurawat I CMMU Mahidol
These are those jargons:
1. External Cost
2. Moral Hazard
3. Visible vs. Invisible Hand
4. Signaling
5. Opportunity Cost
CMMU Blogspot คลิปนี้ภูมิใจนำเสนอ การเรียนรู้คำศัพท์เศรษฐศาสตร์ยากๆ ให้เข้าใจง่าย ผ่านตัวอย่างสนุกๆ ในยุคโควิด โดย ผศ. ดร. วินัย วงศ์สุรวัฒน์ อาจารย์ประจำ สาขา ENTREPRENEURSHIP MANAGEMENT (EN) วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
Learn economics jargons by Dr.Winai : the COVID-19 crisis as an excuse to learn some economics jargon.
External cost – when you pay for your own flight + accommodations to Tokyo, and your friends think it’s their business to shame you for the trip on Facebook. The online shaming reflects the fact that you don’t pay for the risk you impose on others – the external cost – after returning from the trip.
Moral hazard – the temptation to wash your hands just a little less often after you bought COVID-19 insurance. It’s the same reason investment bankers behave recklessly knowing that if they screw up, the government will bail them out.
Visible vs. invisible hand – the invisible hand (the market) is behind the ridiculously priced face masks that crazy-rich Bangkokian Krirkphol “Fluke” Masayavanich claims he can quite easily buy online. The visible hand (the State) won’t offer you any masks, but will randomly imprison small retailers who sell “over-priced” products.
Signaling – when you use the Webex online discussion box to promote your food service during class. Hey, it must be really good because you wouldn’t risk your reputation with your classmates promoting some crappy delivery Shabu-shabu, right?
Opportunity cost – the crushing guilt you get thinking about all work you could have gotten done during the ten hours you spent binging on Crash Landing on You.
เรามาใช้วิกฤตโควิดเป็นข้ออ้างในการเรียนรู้ศัพท์เศรษฐศาสตร์กันดีกว่า
ต้นทุนภายนอก – ไปทัวร์ญี่ปุ่นรอบนี้ มันเรื่องของฉัน ตังค์ฉันก็ออกเองทุกบาท ทำไมทุกคนต้องมารุมประณามฉันด้วย? คำตอบง่ายๆ ก็คือคุณไม่ได้จ่ายค่าต้นทุนความเสี่ยงที่คนรอบๆ ตัวคุณต้องเผชิญ (ต้นทุนภายนอก) จากเชื้อไวรัสที่คุณอาจนำกลับมาด้วย
มือที่มองเห็นกับมือที่มองไม่เห็น – ฟลุ๊ค เกริกพล งง ทำไมน้องลี ใช้มือที่มองไม่เห็นของตลาดเสิร์ชหาหน้ากากอนามัยได้ แต่มือที่มองเห็นของรัฐได้แต่มาแบมือขอบริจาค
จริยวิบัติ – ตรรกะแบบ “ฉันซื้อประกันโควิดแล้ว ดังนั้นฉันสามารถไปลอยหน้าลอยตาอยู่ในสถานที่เสี่ยงได้” นี่เป็นตรรกประเภทเดียวกับการซื้อประกันอัคคีภัยแล้วจุดไฟเผาโรงงานตัวเอง
การส่งสัญญาณ – ถ้าชาบูดิลิเวอร์รี่ของที่บ้านฉันไม่เด็ดจริง ฉันคงไม่กล้าเอามาโฆษณาในห้องเรียนออนไลน์วิชาเศรษฐศาสตร์ของอาจารย์วินัย จริงมั้ย?
ต้นทุนค่าเสียโอกาส – ความรู้สึกเส็งเคร็งเวลามานั่งคิดว่าเวลาสิบกว่าชั่วโมงที่นั่งดูซีรี่ส์สหายผู้กอง ถ้าเอาไปใช้อะไรที่เป็นเรื่องเป็นราว จะได้การได้งานมากมายขนาดไหน
No comments: